![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
ตรี-นาด | เป็นที่พึ่งทั้ง ๓ | |
![]() | ||
ต้อง-ใจ | ถูกใจ | |
![]() | ||
โต-บุด | บุตรเป็นใหญ่ | |
![]() | ||
ตัน-ติ-ยา | ความรู้ที่มีแบบแผน | |
![]() | ||
ตะ-ไน | ลูกชาย | |
![]() | ||
ตาน-นะ-วี | ผู้กล้าหาญในการป้องกันภัย | |
![]() | ||
ติน-นะ-กริด | ผู้ประสบความสำเร็จในการข้ามพ้นความทุกข์ | |
![]() | ||
ตรี-วุด | ความรู้ ๓ ประการ | |
![]() | ||
ตริน-นะ-ทา-รา | [ตฤณธารา] | |
![]() | ||
ตัน-ติ-ยา | [ตันติญา] | |
![]() | ||
ตุน-ยา | ความยุติธรรม | |
![]() | ||
ตัน-ติ-พัด | เจริญอย่างมีแบบแผน | |
![]() | ||
เต-ชิ-ตา | ผู้ฉลาดหลักแหลม, ผู้มีปัญญา | |
![]() | ||
เต-ชะ-ทอน | ผู้ทรงไว้ซึ่งอำนาจ | |
![]() | ||
ตุน-ละ-ชะ-พน | เกิดกำลังแห่งความเป็นธรรม | |
![]() | ||
ตวง-ทิบ | เอาของสวรรค์ | |
![]() | ||
ต่อ-พง | ผู้สืบเชื้อสาย | |
![]() | ||
ตุ-ลา | เดือนตุลาคม | |
![]() | ||
ไตร-วุด | ความรู้ ๓ ประการ | |
![]() | ||
เต-ชะ-ทัด | ให้อำนาจ | |
![]() | ||
ตี-ระ-นา | [ตีรณา] | |
![]() | ||
ติน-นะ-พบ | ผู้ข้ามพ้นโลกแห่งความทุกข์แล้ว, ผู้บรรลุธรรมชั้นอรหันตผล | |
![]() | ||
เต-ชะ-สิด | สำเร็จด้วยอำนาจ | |
![]() | ||
ตรี-พบ | สามโลก, สามแผ่นดิน | |
![]() | ||
ต้น-ตระ-กูน | บรรพบุรุษดั้งเดิม | |
![]() | ||
ตัน-ติ-กอน | [ตันติกร] | |
![]() | ||
เต-ชิน-นะ-พัด | ผู้เจริญในชัยชนะ | |
![]() | ||
ตี-ระ-กา | ||
![]() | ||
ตระ-กาน-รัด | แก้วมณีที่งดงาม | |
![]() | ||
ตระ-กาน-ตา | งดงาม,หรูหรา,เลิศ,หรู | |
![]() | ||
ตา-ทิ-คุน | [ทิตาคุณ] | |
![]() | ||
ตาน-สี | ต้นโตนดสี | |
![]() | ||
ตาน-สี | ต้นโตนดที่งดงาม | |
![]() | ||
ต้น-สน | ต้นสน | |
![]() | ||
ตรี-สุ-คน | ของหอม ๓ ชนิด | |
![]() | ||
ตวง-สิด | ทำให้ประสบความสำเร็จ | |
![]() | ||
ตะ-มิ-สา | พระจันทร์ | |
![]() | ||
ตวง-ทอง | ตวงทอง | |
![]() | ||
ตรี-ระ-นัน | ||
![]() | ||
ตัง-กวน | ชื่อเขาลูกหนึ่งในอำเภอเมืองสงขลา | |
![]() | ||
ตะ-วิ-สา | รุ่งเรืองหรือฉายแสงสว่างไสว | |
![]() | ||
เต็ม-ดวง | เต็มดวง | |
![]() | ||
ต่าว-ฟา-ลี | ||
![]() | ||
เต-ชะ-วิด | อำนาจแห่งความรู้ | |
![]() | ||
ติน-นะ-พัด | ผู้ข้ามพ้นความทุกข์แล้วด้วยความดี | |
![]() | ||
ต่อ-ลาบ | สร้างสิ่งที่ได้มาโดยไม่คาดฝัน | |
![]() | ||
ต้อง-ชะ-นะ | มุ่งหมายเพื่อชัยชนะ | |
![]() | ||
ตะ-นุ-วี | พัดโบกด้วยตนเอง | |
![]() | ||
เต-โช-ดม | มีเดชสูงสุด | |
![]() | ||
ตุน-ละ-วัด | ความประพฤติอันเที่ยงธรรม | |
![]() | ||
ไตร-พูม | สามโลก | |
![]() | ||
ต้น-ข้าว | ต้นของข้าว | |
![]() | ||
ตี-ระ-นา | ใช้สติปัญญาไตร่ตรอง | |
![]() | ||
ตุ-รา-กอน | ผู้ทรงความเร็ว,ผู้มั่งคั่ง | |
![]() | ||
ตัน-ติ-มา | ผู้มีแบบแผนเหมือนดวงจันทร์ | |
![]() | ||
ไตร-ทด | สามสิบ | |
![]() | ||
ติน-นะ-พัด | ผู้เจริญและข้ามพ้นความทุกข์แล้ว | |
![]() | ||
ตะ-วัน-รัด | ดวงอาทิตย์ที่มีค่าดุจแก้ว | |
![]() | ||
ติน-วะ-รุด | [ติณณ์วรุตม์] | |
![]() | ||
ตรี-พิด-ชา | การเกิดขึ้นของนักปราชญ์ทั้งสาม | |
![]() | ||
ตรี-ยา-นุด | [ปรียานุช] | |
![]() | ||
ไตร-รัด | ประเทศทั้งสาม | |
![]() | ||
ตอง-พน | ||
![]() | ||
ต้น-ฟ้า | ต้นฟ้า | |
![]() | ||
ต้น-รัก | ต้นรัก | |
![]() | ||
ติ-มา | ||
![]() | ||
ไตร-สัก | อำนาจ ๓ ประการ | |
![]() | ||
ติน-วะ-รุด | ผู้ข้ามพ้นความทุกข์แล้วและประเสริฐ | |
![]() | ||
ต้อง-คุน | มีพระคุณ | |
![]() | ||
ตี-เยาะ | ||
![]() | ||
เต-ชะ-ทำ | อำนาจแห่งความดี | |
![]() | ||
ตุน-ทัด-ชา | ผู้ที่เกิดมาให้ความยุติธรรม | |
![]() | ||
ไตร-ลัก | ลักษณะ ๓ ประการ | |
![]() | ||
ตรวง-ทิบ | ||
![]() | ||
ตรี-เบน-จะ | สามห้า | |
![]() | ||
เต-ชิน-วิ-พัด | มีอำนาจและความเจริญยิ่ง | |
![]() | ||
ติน-นะ-พัด | ผู้ข้ามพ้นความทุกข์แล้วและมีความเจริญ | |
![]() | ||
ตรี-ยา-พา | [ตรีญาภา] | |
![]() | ||
ตรี-ยา-พา | แสงสว่างแห่งความรู้ทั้ง ๓ ประการ | |
![]() | ||
ตรี-ชะ-ดา | เครื่องสวมศีรษะทั้ง ๓ | |
![]() | ||
ต้อง-จิด | ถูกใจ | |
![]() | ||
ตรี-ทด-สะ-พน | มีกำลังสามสิบประการ | |
![]() | ||
แตง-โม | แตงชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่เนื้อในมีสีแดง แต่ปัจจุบันมีสีเพิ่มมากขึ้น เช่นสีเหลือง สีน้ำเงิน มีรสหวาน | |
![]() | ||
ติน-นะ-พัด | หญ้าที่เจริญงอกงาม, หญ้าที่ประเสริฐ, ผู้ประเสริฐเหมือนต้นหญ้า | |
![]() | ||
ตะ-ริ-สา | นสามารถร่างงามมหาสมุทร | |
![]() | ||
เตือน-จิต | เตือนความงาม | |
![]() | ||
ตัน-ติ-กอน | ทำตามแบบแผน | |
![]() | ||
ตุน-แมน | เทวดาผู้ทรงธรรม | |
![]() | ||
ตระ-กาน | [ตระการ] | |
![]() | ||
เตรียม-จิด | เตรียมใจ | |
![]() | ||
ตรี-กาน | ทองทั้งสาม | |
![]() | ||
ตาน-ทิบ | ต้นโตนดของเทวดา | |
![]() | ||
ต้า-เหวิน | ||
![]() | ||
ต้น-หลิว | ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง | |
![]() | ||
ตริน-นะ-นิด | ความสำเร็จดุจหญ้า | |
![]() | ||
ไตร-ยะ-บอ-วะ-ระ-พด | คำพูดอันประเสริฐ ๓ ประการ | |
![]() | ||
ตรี-ลัก | สามชนิด | |
![]() | ||
ตา-มน | ดวงตาและหัวใจ | |
![]() | ||
ตระ-กาน-ตา | [ตระการตา] | |
![]() | ||
ไตร-ชะ-พัด | ||
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |