![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
รัด-ชะ-ดา-วัน | สายเงิน | |
![]() | ||
รัด-ตะ-นา-กอน | คลังเงินทอง, ทะเล | |
![]() | ||
ไร-วิน | ได้ทรัพย์ | |
![]() | ||
รัก-แท้ | รักจริง | |
![]() | ||
รุ-จิ-รา | สวยงาม | |
![]() | ||
รัด-ตะ-ชา | ผู้ที่เกิดมามีความสุข | |
![]() | ||
รา-เมด | พระรามผู้เป็นใหญ่ | |
![]() | ||
โรด-จะ-นา | รุ่งเรือง | |
![]() | ||
รัง-สะ-ริด | [รังสฤษฏ์] | |
![]() | ||
รัด-ชะ-ตา | เงิน | |
![]() | ||
รัง-สะ-หริด | สร้าง, แต่งตั้ง | |
![]() | ||
ระ-วิน-นิ-พา | งดงามเหมือนดอกบัว | |
![]() | ||
รุ่ง-เรือง | สว่างไสว | |
![]() | ||
รุ่ง-นะ-พา | ท้องฟ้าที่สว่าง,ท้องฟ้ายามเช้า | |
![]() | ||
รุ-จิ-พาด | แสงสว่างที่งดงาม | |
![]() | ||
ระ-ดา | ความยินดี | |
![]() | ||
รัด-ตะ-นะ-สุ-ดา | ลูกแก้ว | |
![]() | ||
ระ-ถะ-พน | คำพูดของบ้านเมือง | |
![]() | ||
รุ-จิ-สา | เจ้าแห่งความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
รัด-ติ-ยา | กลางคืน | |
![]() | ||
รัง-สิ-มัน | ผู้มีแสงสว่าง | |
![]() | ||
ระ-พี-พอน | ค้ำจุนความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ระ-ถะ-นน | ผู้รักประเทศ | |
![]() | ||
รัด-ทะ-ยา | ความเอื้อเฟือที่ทำให้เกิดความสุข | |
![]() | ||
ระ-พัด-สา | [ลภัสสา] | |
![]() | ||
ระ-ชิ-ตา | มีสมบัติ | |
![]() | ||
รา-วี | การรบ | |
![]() | ||
รัด-ตะ-นะ-รัด | แก้วมณี,แก้วชั้นยอด | |
![]() | ||
ระ-ชา-นน | ผู้ยินดีในสมบัติ | |
![]() | ||
รวง-ทอง | รวงข้าวที่สุกแล้ว, รวงข้าวที่สุกอร่ามเหมือนทองคำ | |
![]() | ||
รัด-ตะ-นะ-ไช | ดวงแก้วแห่งชัยชนะ | |
![]() | ||
รัด-ชุ-ดา | รุ่งเรืองด้วยทรัพย์ | |
![]() | ||
ระ-ชา-ดา | มีสมบัติมาก | |
![]() | ||
ระ-ชา | สมบัติ | |
![]() | ||
ระ-พี-พัน | เชื้อสายพระอาทิตย์, เชื้อสายผู้รุ่งเรือง | |
![]() | ||
ระ-มิ-ดา | ผู้มีความสุข | |
![]() | ||
ระ-ติ-สัก | อำนาจที่น่ายินดี | |
![]() | ||
ระ-ติ-สัก | [รติศักดิ์] | |
![]() | ||
ระ-ตี-พัด | ความยินดีอันประเสริฐ | |
![]() | ||
รัด-สะ-มี-ลัก | แสงสว่างที่มีลักษณะดี | |
![]() | ||
รัด-สะ-มี-รัก | แสงที่ปกป้อง | |
![]() | ||
รัด-สะ-หมี-โชด | รัศมีที่รุ่งเรือง | |
![]() | ||
รัด-ตะ-วะ-ดี | มีความสุข | |
![]() | ||
ระ-พี-พอน | ประเสริฐเหมือนพระอาทิตย์, ประเสริฐดวามรุ่งเรือง | |
![]() | ||
เร-วิ-ยา-นัน | ||
![]() | ||
รัง-สิ-นี | หญิงที่มีแสงสว่าง,หญิงที่มีความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ระ-วี-รัด | แสงอาทิตย์ | |
![]() | ||
ริน-ละ-ดา | สายน้ำที่ไหลมาเรื่อยๆ | |
![]() | ||
รุ่ง-ระ-ดา | ความยินดีอันรุ่งเรือง | |
![]() | ||
รัง-สิ-มัน | ผู้มีแสงสว่าง | |
![]() | ||
รัด-ชะ-นี-วัน | ผู้มีผิวพรรณงาม | |
![]() | ||
ระ-ดา-พัก | โชคที่น่ายินดี | |
![]() | ||
รุ-จิ-รา-พอน | ผู้ที่มีความงดงามเป็นเลิศ | |
![]() | ||
เร-วะ-ดี | ชื่อฤกษ์ที่ ๒๗ ในหมู่นักษัตรฤกษ์ | |
![]() | ||
รัด-ชะ-ตะ | เงิน | |
![]() | ||
ระ-วิน | พระอาทิตย์ | |
![]() | ||
ริน-ยะ-พัด | [รินญภัสร์] | |
![]() | ||
รุ่ง-นะ-พา-พอน | รุ่งเรืองและประเสริฐเหมือนท้องฟ้า | |
![]() | ||
รัด-ถะ-พูม | แผ่นดินที่มั่นคงและมีค่ายิ่ง | |
![]() | ||
รุ่ง-กะ-วิน | นักประพันธ์ผู้รุ่งเรือง | |
![]() | ||
รัด-ชะ-ตะ-วัน | ผิวพรรณงามดุจเงิน | |
![]() | ||
รุ่ง-ทิ-วา-รัด-สะ-หมี | แสงสว่างยามเช้า | |
![]() | ||
รุ่ง-รัด | ดวงแก้วแห่งความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ระ-สา | ความงามอย่างมีเสน่ห์,รส | |
![]() | ||
รม-ลัก | ลักษณะอันพึงใจ | |
![]() | ||
รุ่ง-ทะ-วี | ความรุ่งเรืองที่เพิ่มขึ้น | |
![]() | ||
รุ-จิ-กาน | รุ่งเรืองในความรัก | |
![]() | ||
รด-จะ-นะ-สุ-นัน | ผู้ยินดีในวาจา | |
![]() | ||
รัด-ชะ-วิน | ||
![]() | ||
รุ-จิ-รัด | งามอย่างประเสริฐ | |
![]() | ||
รัด-ตะ-นะ-ชะ-ดา | ที่สวมศีรษะสตรีอันสูงค่า | |
![]() | ||
รด-สะ-ริน | ไพเราะเสมอ | |
![]() | ||
รัง-สัน | สร้าง แต่งตั้ง | |
![]() | ||
ระ-วิด-สะ-ดา | เป็นที่รักของพระอาทิตย์,ผู้มีความปรารถนาในความรุ่งเรือง | |
![]() | ||
ระ-ชะ-นี-กอน | พระจันทร์ | |
![]() | ||
รุ่ง-ไช | รุ่งอรุณแห่งชัยชนะ | |
![]() | ||
รุ่ง-นะ-พา | ผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่างแห่งปัญญา | |
![]() | ||
รัม-พา | นางฟ้า | |
![]() | ||
รุ่ง-สุ-รี | เวลาพระอาทิตย์ขึ้น | |
![]() | ||
รุ่ง-ทิ-วา | รุ่งเช้า | |
![]() | ||
รุ่ง-กาน | เวลาเริ่มต้นแห่งรัก | |
![]() | ||
รุ่ง-เพ็ด | เวลาเริ่มต้นวันใหม่ที่ดี | |
![]() | ||
รุ่ง-กาน | เวลารุ่งเช้าอันสว่างไสว | |
![]() | ||
ริน-วะ-สุ | ||
![]() | ||
ราด-ชะ-บัน-ลัง | พระแท่นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ภายใต้เศวตฉัตร | |
![]() | ||
รุ่ง-รึ-ดี | ใจสว่าง | |
![]() | ||
ระ-สิน-ทรา | จินดามณี | |
![]() | ||
เรือง-สิด | สำเร็จและแตกฉาน | |
![]() | ||
เริง-สัก | ระเริงในความสามารถ | |
![]() | ||
ระ-วิน | ดอกบัว | |
![]() | ||
รน-นะ-กริด | ผู้ทำการรบ | |
![]() | ||
รน-นะ-ยด | มีชื่อเสียงทางการรบ | |
![]() | ||
รุ-จิ-พัด | เจริญรุ่งเรืองในความรู้ | |
![]() | ||
รัด-นิ-ชา | รัศมีอันบริสุทธิ์ | |
![]() | ||
ระ-ริ-ดา | เต็มไปด้วยความจริง ,มากไปด้วยความชอบธรรม | |
![]() | ||
รุ-จ-เรก | มีลายงาม มีลายสุกใส | |
![]() | ||
เรือง-รอง | เรืองรอง | |
![]() | ||
ระ-วี-วัน | ผู้มีความงามดั่งตะวัน | |
![]() | ||
ระ-วี-วัน | ผู้มีความงามดั่งตะวัน | |
![]() | ||
รด-สะ-ริน | ||
![]() | ||
ชม-พิด | ทองคำที่น่ายินดี | |
![]() | ||
ชะ-นัน-ยา | คนที่มีปัญญา | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |