![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
คำ-ผิว | ผิวพรรณงามดุจทองคำ | |
![]() | ||
คะ-นอง | [คะนอง] | |
![]() | ||
คำ-สิง | ผู้อาศัยทองคำ | |
![]() | ||
คง-กะ-พัน | [คงกระพัน] | |
![]() | ||
คำ-เอื้อย | สาวคนโตที่งดงามดั่งทองคำ | |
![]() | ||
คม-พน | ผู้มีกำลังอันแหลมคม | |
![]() | ||
คำ-ผง | ผงทองคำ | |
![]() | ||
คง-มี-สม-บัด | ผู้มั่นคงในทรัพย์ | |
![]() | ||
คำ-ผง | ผงทองคำ | |
![]() | ||
คะ-นิน | [คณิน] | |
![]() | ||
คำ-หล้า | แผ่นดินทอง | |
![]() | ||
คะ-นิน | เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-ทา-นัน | ผู้ยินดีในกระบอง | |
![]() | ||
คะ-ชา-ชีบ | ผู้มีอาชีพเกี่ยวเนื่องด้วยช้าง | |
![]() | ||
คะ-นิด-ตา | ดวงตาแห่งการคำนวณ->[คณิตา] | |
![]() | ||
คม-สุ-วัน | คมทอง | |
![]() | ||
คด-ชะ-พน | ผู้มีกำลังดุจช้างสาร | |
![]() | ||
คง-ทัน | คงไว้ซึ่งโชค | |
![]() | ||
คะ-นิด | ผู่เกิดมาเพื่อหมู่คณะ | |
![]() | ||
คำ-ชา | การเกิดขึ้นของทองคำ | |
![]() | ||
คัด-ที-ยา | [คัทลียา] | |
![]() | ||
คำ-พี-ระ-พัน | ตำราเกี่ยวกับผิวพรรณ | |
![]() | ||
คะ-นิน-นัด | นักปราชญ์ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-มิก-กัน | ||
![]() | ||
คะ-นะ-บอ-ดี | ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ ตำแหน่งสูงสุดของคณะวิชาในมหาวิทยาลัย | |
![]() | ||
คำ-เพียน | มีความขยันดั่งทอง | |
![]() | ||
คำ-ใหม่ | ทองคำใหม่ | |
![]() | ||
คะ-นา-เวด | คณะแพทย์ | |
![]() | ||
คม-พู-ดิด | เจ้าแห่งความเจริญที่มีปัญญาเฉียบแหลม | |
![]() | ||
คม-สัน | การมาถึงของความสงบ | |
![]() | ||
คา-วุด | ความรอบรู้ที่ติดอยู่ | |
![]() | ||
คะ-นา-รัด | มีแก้วมาก | |
![]() | ||
แคด-ทะ-ลี-ยา | ||
![]() | ||
คน-ดี | ผู้ทำความดี | |
![]() | ||
คี-รี-สัก | มีอำนาจดุจขุนเขา | |
![]() | ||
คำ-น้อย | ทองน้อย | |
![]() | ||
คี-ระ-ติ | [กีรติ] | |
![]() | ||
คูน-เสด | เพิ่มความดี | |
![]() | ||
คัน-ทิ-มา | มีกลิ่นหอม | |
![]() | ||
ึคุ-นัน | ผู้รู้คุณธรรม ผู้รู้ความดี | |
![]() | ||
คม-สาด-ตรา | คมของอาวุธ | |
![]() | ||
คำ-เพ็ด | คำที่มีค่ามากดุจเพชร | |
![]() | ||
คะ-นิ-ถา | [คณิฏฐา] | |
![]() | ||
คี-ตะ-กาน-กร | ผู้ขับร้องกลอน | |
![]() | ||
คะ-นะ-นะ-พัด | กลุ่มของแสงบนท้องฟ้า | |
![]() | ||
คำ-จัน | พระจันทร์ทอง | |
![]() | ||
คม-สับ | คมทั้งหมด | |
![]() | ||
คะ-นะ-ทัด | ความเห็นตรงกันกับสมาชิกในกลุ่ม | |
![]() | ||
คัก-คะ-นิน | ยิ่งใหญ่บนท้องฟ้า | |
![]() | ||
คลัง-เพ็ด | ี่ที่เก็บรักษาเพชรจำนวนมาก | |
![]() | ||
คะ-ติ | การไป ความเป็นไป | |
![]() | ||
คำ-สัน-ติ | คำพูดอันสงบ | |
![]() | ||
คำ-พี | คำพูดที่น่าเกรงขาม | |
![]() | ||
คะ-นิด-ชา | ผู้เกิดมาเพื่อการคำนวณ | |
![]() | ||
คม-คะ-นิน | คมมาก | |
![]() | ||
คะ-นา-พอร | หมู่คณะที่ดี | |
![]() | ||
ครอง-สัก | ครองอำนาจ | |
![]() | ||
คัก-คะ-เนด | ||
![]() | ||
คะ-นะ-วา-รี-กาน | [ฆนวารีกานต์] | |
![]() | ||
คะ-นิด-กุน | เชื้อสายนักคำนวณ | |
![]() | ||
คำ-คุน | คำพูดที่ดี | |
![]() | ||
คะ-นัม-พอน | ||
![]() | ||
คน-ทะ-รัด | แก้วที่มีกลิ่นหอม | |
![]() | ||
ครอง-ทำ | ดำรงตนให้อยู่ในศีลธรรม | |
![]() | ||
คะ-นะ-พอน | ผู้ค้ำจุนหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นึง | คิดทบทวน นึกตรอง คํานึง | |
![]() | ||
คะ-ชา-นุ-สิด | [คชานุศิษฎ์] | |
![]() | ||
ค-ช-ธ | ทรงไว้ซึ่งช้าง | |
![]() | ||
คด-ชะ-สะ-ยา-พา | [คชศยาภา] | |
![]() | ||
คำ-พัน | ผูกพันธ์ด้วยคำพูด | |
![]() | ||
คุน-นะ-ทัน | ความดี | |
![]() | ||
คะ-ชา-นุ-สิด | อำนาจอันชอบธรรมของช้าง | |
![]() | ||
คิม-มิ-กา | [ธรรมิกา] | |
![]() | ||
คง-คา | นํ้า แม่นํ้า | |
![]() | ||
คัก-คะ-นำ-พอน | ฟ้า | |
![]() | ||
คี-รี-วัด | ผู้เจริญงอกงามและมั่นคงดุจภูเขา | |
![]() | ||
คะ-นัด-สะ-มน | เป็นดวงใจของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คุ-นา-กอน | การกระทำดี | |
![]() | ||
คะ-ชา-ทาน | การให้ทานแก่ช้าง | |
![]() | ||
ครอง-สิ-หริ | มีความเป็นมงคล | |
![]() | ||
คัม-พี-ระ-ดา | ความลึกซึ้ง | |
![]() | ||
คะ-ทา-มาด | กระบองทอง | |
![]() | ||
คำ-เพ็น | ทองคำบริสุทธิ์ | |
![]() | ||
คะ-นิ-ดา | ผู้คำนวณ | |
![]() | ||
คำ-พี-ระ-ไช | ตำราพิชัยสงคราม | |
![]() | ||
คง-พะ-งา | [คงพะงา] | |
![]() | ||
คะ-ชา-พอน | ช้างที่ประเสริฐ | |
![]() | ||
คม-ทัด | ธงชัยอันแหลมคม | |
![]() | ||
ครอง-ขวัน | มีความฝัน | |
![]() | ||
คุ-นา-วัน | ||
![]() | ||
คัม-พี-รา-พอน | หนังสือดุจเครื่องประดับตน | |
![]() | ||
คม-เพ็ด | กล้าแข็งมาก | |
![]() | ||
คะ-นึง-วะ-รัน | คิดถึงประโยชน์ใช้สอย | |
![]() | ||
คัน-ชิด-พน | กำลังอันเกริกก้อง | |
![]() | ||
คะ-นิน-เนด | [คณินเนตร] | |
![]() | ||
คะ-นิน-เนตร | ผู้เป็นดั่งดวงตาของหมู่คณะ,ผู้เป็นที่รักของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นา-บอ-ดิน | เป็นใหญ่ในหมู่คณะ,ยิ่งใหญ่มาก | |
![]() | ||
คี-ริน-พัด | นักปราชญ์ผู้มั่นคงดุจภูเขาใหญ่ | |
![]() | ||
คง-ขวัน | ยังมียังเป็นอยู่อย่างเดิมของมิ่งขวัญ | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |