![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
คะ-เนด | ||
![]() | ||
เค้า-มูน | ||
![]() | ||
คะ-นึง | ||
![]() | ||
คะ-นิด-สา | [คณิฏฐ์] | |
![]() | ||
คำ-นึง | คิดถึง, นึก, คิด | |
![]() | ||
คะ-ชิน | พญาช้าง,เจ้าแห่งช้าง | |
![]() | ||
คะ-นิด-ถา | [คณิฏฐา] | |
![]() | ||
คะ-เนด | พระพิฆเนศ,ผู้เป็นใหญ่เหนือหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-ทา-ยุด | การรบด้วยคฑา | |
![]() | ||
คุน-นะ-ทำ | สภาพคุณงามความดี | |
![]() | ||
คุ-นา-โชด | รุ่งเรืองด้วยความดี | |
![]() | ||
คะ-นะ-ยด | เกียรติคุณของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คม-สัน | มีหน้าตาท่าทางเข้าทีน่าดู | |
![]() | ||
คะ-นะ-พอน | ผู้ประเสริฐด้วยหมู่คณะ | |
![]() | ||
คำ-แสง | แสงทอง | |
![]() | ||
คม-ชะ-รัน | ||
![]() | ||
คะ-ชะ-นัด | ผู้มีความรู้เรื่องช้าง | |
![]() | ||
คะ-นิด | การนับ การคํานวณ วิชาคํานวณ | |
![]() | ||
ความ-เพียน | ความขยัน | |
![]() | ||
คะ-นึง-พอน | การคิดทบทวนอันประเสริฐ | |
![]() | ||
คิด-ชอบ | คิดในทางที่ถูกต้อง | |
![]() | ||
คะ-ชา-ชาน | ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องช้าง | |
![]() | ||
คะ-คะ-นาน | ฟ้า,ท้องฟ้า | |
![]() | ||
คำ-พี | หนังสือตําราที่สําคัญและลึกซึ้ง | |
![]() | ||
คะ-นึง-นิด | คิดถึงเสมอ | |
![]() | ||
คะ-นัด-ชะ-กอน | ผู้ทำให้เกิดความมั่นคงในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นัด-ถะ-กอน | ผู้สร้างความมั่นคงในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นัด-ถะ-กอน | ผู้กระทำให้มีความมั่นคงในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นัด-ถะ-พอน | ประเสริฐและมั่นคงในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-ทา-วุด | ตะบองแห่งคำสำเร็จ | |
![]() | ||
คะ-ริน | ||
![]() | ||
คะ-นอง-เดด | ||
![]() | ||
คะ-นิน-นิด | เป็นใหญ่ในคณะเสมอ | |
![]() | ||
คำ-รน | กระหึ่ม | |
![]() | ||
ครอง-พบ | ครองแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน | |
![]() | ||
คะ-นิด-ตะ-กาน | การคำนวณที่มีคุณค่า | |
![]() | ||
คะ-นิน-ชิ-ตา | ผู้ชนะและเป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นิ-สอน | ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คด-ชะ-สอน | การเคลื่่อนไปของช้าง | |
![]() | ||
คะ-นา-ทิด | ความรุ่งเรืองของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-ชา-พา | แสงสว่างแห่งช้าง | |
![]() | ||
คะ-นิน | ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นึง-จิด | ใจที่คิดถึง | |
![]() | ||
คง-สัก | ผู้มีอำนาจอันมั่นคง | |
![]() | ||
คน-ทา | ของหอม | |
![]() | ||
คะ-นิน-พน | คำพูดของครูบาอาจารย์ | |
![]() | ||
คำ-นวน | [คำนวณ] | |
![]() | ||
คะ-นัม-พอน | ||
![]() | ||
คง-มี | มี | |
![]() | ||
เครือ-ฟ้า | เชื้อสายของเทวดา | |
![]() | ||
คำ-บาง | น้ำทอง | |
![]() | ||
คัน-ทะ-รด | กลิ่นหอม | |
![]() | ||
คุน-นะ-สัก | อำนาจความดี | |
![]() | ||
คะ-นิด-ตะ-พัด | ผู้เจริญในการคำนวณ | |
![]() | ||
คำ-พอน | ประเสริฐดั่งทองคำ | |
![]() | ||
คุ-นะ-อัน | ความรู้และความดี | |
![]() | ||
คม-พา-คิน | ผู้ฉลาด มีโชค และกำไร | |
![]() | ||
คม-ชะ-รัน | การต่อสู้อันแหลมคม | |
![]() | ||
คำ-พา-สา | ภาษาอันทรงคุณค่า,คำที่ใช้สื่อสาร | |
![]() | ||
แคน-คำ | แคนทองคำ | |
![]() | ||
แคน-ชม-พู | แคนที่ทำจากไม้หว้า | |
![]() | ||
คม-เดด | มีอำนาจอันแหลมคม | |
![]() | ||
คี-ตะ-สิน | ผู้มีความสามารถในการขับร้อง ,ศิลปะในการขับร้อง | |
![]() | ||
คม-สัก | อำนาจอันแหลมคม | |
![]() | ||
คะ-นิด-สะ-รา | เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-ทา-เทบ | กระบองของเทวดา | |
![]() | ||
คะ-ทา-ทิบ | เจ้าแห่งกระบอง | |
![]() | ||
คำ-แปง | สร้างทองคำ | |
![]() | ||
คุ-นา-ยุด | รบด้วยความดี | |
![]() | ||
คุ-นา-วัด | เจริญในความดี | |
![]() | ||
คะ-นิด-สะ-สิด | รอยยิ้มของผู้เป็นใหญ่เหนือหมู่คณะ | |
![]() | ||
คิม-ตา-มะ-นี | [คินตามณี] | |
![]() | ||
คำ-สิง | สิงห์ทอง | |
![]() | ||
คะ-นะ-เดด | กลุ่มผู้มีอำนาจ | |
![]() | ||
คม-กริด | มีความฉลาดดุจพระกฤษณะ | |
![]() | ||
คม-ชาด | ผู้เกิดมาฉลาด | |
![]() | ||
คะ-นอง | แสดงอาการร่าเริง | |
![]() | ||
เครือ-ทิบ | เชื้อสายเทวดา | |
![]() | ||
คะ-ทา-เทบ | คทาของเทวดา | |
![]() | ||
คำ-สุก | พระศุกร์และทองคำ | |
![]() | ||
คะ-นิด-ตะ-เขด | คำนวณเขตแดน | |
![]() | ||
คี-ริน | [คีรินทร์] | |
![]() | ||
คุน-นะ-ที | ความดีของนักปราชญ์ | |
![]() | ||
คะ-นา-วุด | มีความรู้มาก | |
![]() | ||
คา-มิน | [คามินทร์] | |
![]() | ||
คุ-นัด-ชะ-ยะ-กิน | ผู้รู้ธรรมและรุ่งเรืองในชัยชนะ | |
![]() | ||
คด-ชะ-รัด | ช้างแก้ว | |
![]() | ||
คม-กริด | มีปัญญาเฉียบแหลม | |
![]() | ||
ครอง-สุก | ดำรงอยู่อย่างมีความสุข | |
![]() | ||
คม-พิ-สิด | การไปถึงสิ่งประเสริฐ | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |