![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
ครอง-ขวัน | มีมิ่งขวัญ | |
![]() | ||
คม-คาย | ฉลาด ไหวพริบดี ทันคน | |
![]() | ||
คุ-นา-มาด | คุณค่าของทองคำ | |
![]() | ||
คะ-ชา-พน | ผู้มีกำลังประดุจช้าง | |
![]() | ||
คุ-นา-นน | ผู้มีคุณความดี | |
![]() | ||
คะ-นัด-สะ-นัน | เป็นที่เพลิดเพลินของคณะ | |
![]() | ||
คะ-นัด-สะ-วัน | ผู้เคารพหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นิด-สอน | ผู้เป็นใหญ่กว่าหมู่คนทั้งหลาย | |
![]() | ||
คุ-นา-วุด | คุณสมบัติ | |
![]() | ||
คะ-คะ-นาง | ท้องฟ้า | |
![]() | ||
คะ-ชา-พอน | เครื่องประดับช้าง | |
![]() | ||
คะ-เชน | พญาช้าง | |
![]() | ||
คะ-นะ-นาด | ผู้เป็นที่พึ่งของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นะ-พอน | บำรุงคณะ ดูแลหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นะ-พอน | บำรุงคณะ ดูแลหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นา-ทิบ | ผู้เป็นใหญ่ในกลุ่ม, หัวหน้า | |
![]() | ||
คะ-นิ-ตา | การคำนวณ | |
![]() | ||
คะ-นิ-ติน | นักปราชญ์ทางคณิตศาสตร์ | |
![]() | ||
คะ-ติ-ยา | ผู้เป็นแบบอย่าง | |
![]() | ||
คน-ทะ-วัน | เถาวัลย์หอม | |
![]() | ||
คม-ชาน | ฉลาดเฉียบแหลม | |
![]() | ||
คะ-มิก | ผู้เตรียมจะก้าวต่อไป | |
![]() | ||
คะ-รุ-วาร | วันพฤหัสบดี | |
![]() | ||
คะ-ริด | ผู้ที่น่าบูชาที่สุด | |
![]() | ||
คะ-ริด-ถา | ผู้ที่น่าบูชาที่สุด | |
![]() | ||
คะ-รึ-โคด | กึกก้อง กระหึ่ม ครึกครื้น | |
![]() | ||
คัด-ทะ-ลี-ยา | ชื่อกล้วยไม้สกุลหนึ่ง | |
![]() | ||
คัน-ทะ-นี-รา | น้ำหอม | |
![]() | ||
คัน-ทะ-มา-ลี | ดอกไม้กลิ่นหอม | |
![]() | ||
คัน-ทา-รัด | กลิ่นแก้ว | |
![]() | ||
คิ-รา-กอน | กระทำซึ่งถ้อยคำ | |
![]() | ||
คุน-นะ-พัด | เจริญด้วยความดี | |
![]() | ||
คุ-นัด | ผู้รู้ธรรม ผู้รู้ความดี | |
![]() | ||
คุ-นัน-ยา | ผู้รู้ธรรม, ผู้รู้ความดี | |
![]() | ||
คุ-นา-ทิบ | เจ้าพระคุณ | |
![]() | ||
คุ-นา-ไม | มั่งคั่งในความดี | |
![]() | ||
คุ-นา-สิน | ผู้มีทรัพย์มาก | |
![]() | ||
คุ-นิ-ตา | ผู้ที่มีความดี,ผู้ที่สร้างประโยชน์ | |
![]() | ||
คุ-ลิ-กา | ไข่มุก | |
![]() | ||
คัน-ทะ-ซับ | เครื่องหอม | |
![]() | ||
คลอง-ขวัน | คลองอันเป็นที่นับถือของปวงชน | |
![]() | ||
คะ-ทา-วุด | กระบอง | |
![]() | ||
คุ-นา-กอน | บ่อเกิดแห่งความดี ที่รวมแห่งความดี | |
![]() | ||
คัน-ชิด | คํารน บันลือเสียง เอิกเกริก กึกก้อง กระหึม | |
![]() | ||
เครือ-วัน | เครือเถา | |
![]() | ||
คม-สัน | ความสงบยิ่ง | |
![]() | ||
คำ-มา-ลี | ดอกไม้ทองคำ | |
![]() | ||
คะ-นา-เดด | มีอำนาจมาก | |
![]() | ||
คะ-นิด-สา | ผู้เป็นใหญ่เหนือหมู่คณะ | |
![]() | ||
คา-รม | ถ้อยคําที่คมคาย, ฝีปาก | |
![]() | ||
คา-รม-เลิด | ผู้เก่งกาจในถ้อยคำที่คมคาย, ผู้เก่งกาจในการใช้ฝีปาก | |
![]() | ||
คะ-ทา-เดด | อำนาจที่เกิดจากคทา (กระบอง) | |
![]() | ||
คะ-มะ-ถิ-พัด | การมาถึงของความเจริญที่มั่นคง | |
![]() | ||
คะ-นุด | ผู้เป็นเลิศกว่าคนทั้งหลาย | |
![]() | ||
ครอง-พอน | มีความประเสริฐ | |
![]() | ||
คี-ตะ-พัด | ผู้เป็นเลิศในการขับร้อง | |
![]() | ||
คะ-นิด | ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คำ-หมอน | หมอนทองคำ | |
![]() | ||
คำ-แหง | เข้มแข็ง, กล้าแข็ง | |
![]() | ||
คง-เดด | อำนาจที่มั่นคง | |
![]() | ||
คะ-นา-พง | มากด้วยผู้สืบวงศ์ตระกูล | |
![]() | ||
คุ-นัด | ความรู้ที่ดี | |
![]() | ||
คึก-ริด | ร่าเริงในอำนาจวิเศษ | |
![]() | ||
คะ-นึง-นิด | คิดถึงเสมอ | |
![]() | ||
คะ-นิด-สะ-รา | ผู้เป็นใหญ่ในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นะ-พิด | หมู่คณะของนักปราชญ์ | |
![]() | ||
คะ-นิด-ถา | ผู้ยืนอยู่ได้ด้วยหมู่คณะ,ผู้ที่น่ารักในหมู่คณะ | |
![]() | ||
คะ-นิด-ตะ-กอน | ทำการคำนวณ | |
![]() | ||
คำ-พา | แสงสว่างที่เกิดจากทองคำ | |
![]() | ||
พัก-นัด-ถะ-นัน | ความยินดีของนักปราชญ์ที่มีโชค | |
![]() | ||
คง-ชิด | ผู้มั่นคงในชัยชนะ | |
![]() | ||
คะ-ทา-วุด | มีกระบองเป็นอาวุธ | |
![]() | ||
ครอง-รัด | มีเงิน | |
![]() | ||
คะ-นา-กริด | ความสำเร็จของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คม-กริด | มีปัญญาแหลมคม | |
![]() | ||
ครอง-ลาบ | มีลาภ | |
![]() | ||
คะ-นา | มาก | |
![]() | ||
คะ-นิน | เป็นใหญ่ในคณะ เป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย | |
![]() | ||
คุน-เดด | อำนาจอันประเสริฐ | |
![]() | ||
คน-ทะ-รด | น้ำหอม | |
![]() | ||
คุ-นา-กอน | บ่อเกิดแห่งความดี ที่รวมแห่งความดี | |
![]() | ||
เครือ-วัน | เชื้อสายสกุล | |
![]() | ||
คุ้ม-ขวัญ | คุ้มครองขวัญ | |
![]() | ||
คะ-ชา-รี | ศัตรูแห่งพวกช้าง คือ สิงโต | |
![]() | ||
คะ-นึง-ยด | คิดถึงเกียรติคุณ | |
![]() | ||
คม-สิน | คมธนู | |
![]() | ||
คำ-กอง | กองทอง | |
![]() | ||
คุ-นา-นน | มีคุณความดีมากมาย | |
![]() | ||
คะ-นะ-พด | ความสามารถของหมู่คณะ | |
![]() | ||
คิม-หัน | ฤดูร้อน | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |