![]() | ||
คำอ่าน | ความหมาย | |
---|---|---|
กะ-หนก | ทองคำ | |
![]() | ||
กอน-กะ-หนก | แสงทอง,ทองกร | |
![]() | ||
กริด-สะ-นะ-พอน | พรจากองค์พระกฤษณะ | |
![]() | ||
ก่อ-กาน | ริเริ่มการกระทำ | |
![]() | ||
กิด-จะ-พอน | การกระทำอันประเสริฐ หน้าที่อันประเสริฐ | |
![]() | ||
กะ-วิน-ทิบ | ดีงามเหมือนมาจากสวรรค์ | |
![]() | ||
กาน-พิด-ชา | มีความรู้เป็นที่รัก | |
![]() | ||
กริด-สิ-กาน | การกระทำที่ถูกต้องดียิ่ง | |
![]() | ||
กรอง-ขวัน | จิดใจที่มีสิริมงคลอันละเอียดอ่อน | |
![]() | ||
เกด-สะ-รา | เกสรดอกไม้ | |
![]() | ||
กริด-ตะ-ยะ | เกียรติ | |
![]() | ||
กัน-นิ-กา | ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด ใบคาย ดอกหอม กลีบขาว หลอดดอกสีแสด ใช้ย้อมผ้า | |
![]() | ||
กาน-จะ-นา-พัน | ผู้มีผิวพรรณประดุจทองคำ | |
![]() | ||
กาน-จะ-นา-พัน | ผู้มีความผูกพันธ์กันอย่างมาก | |
![]() | ||
กาน-จะ-นา-พัน | สิ่งของที่ทำด้วยทองคำ | |
![]() | ||
กัน-จะ-นะ-พัน | ผูกพันกับทองคำ | |
![]() | ||
กริด-ติ-เดด | ผู้มีอำนาจและมีความสร้างสรรค์ | |
![]() | ||
กะ-หนก-วัน | ผู้มีผิวพรรณงามประดุจทองคำ | |
![]() | ||
กิด-จะ-เริน | ผู้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน | |
![]() | ||
ก้อง-กิ-ดา-กอน | เสียงสรรเสริญอันกึกก้อง | |
![]() | ||
กอ-ระ-พัด | มีโชคมีสิริมงคลในการกระทำ | |
![]() | ||
กริด-ตะ-พอน | ผู้ได้ทำการค้ำจุนแล้ว | |
![]() | ||
กาน-สิ-นี | สตรีผู้เป็นที่รักยิ่ง | |
![]() | ||
กาน-จะ-นา | ทองคำ | |
![]() | ||
กริด-สะ-นา-พอน | ประเสริฐดุจกฤษณา,ดำดี | |
![]() | ||
กด-ชะ-มน | มีใจประเสริฐเหมือนดอกบัว | |
![]() | ||
กริด-ตะ-พัด | ทำให้เกิดฝน | |
![]() | ||
กะ-มน-มาด | ดอกบัวทอง | |
![]() | ||
กัน-ยะ-รัด | นางแก้ว | |
![]() | ||
กัน-ยะ-กอน | สร้างสิริมงคล, สร้างความสมบูรณ์พูนสุข,หญิงสาวที่สร้างความงดงาม บริสุทธิ์และมีทรัพย์ | |
![]() | ||
กัน-ยา-กอน | สร้างสิริมงคล, สร้างความสมบูรณ์พูนสุข,หญิงสาวที่สร้างความงดงาม บริสุทธิ์และมีทรัพย์ | |
![]() | ||
กัน-จะ-นา | ทองคำ | |
![]() | ||
กะ-มน-ชะ-นก | ผู้เกิดจากใจ | |
![]() | ||
กัน-ยะ-กอน | สร้างสิริมงคล สร้างความสมบูรณ์พูนสุข | |
![]() | ||
กริด-ติ-กา | ดาวฤกษ์ที่ ๓ มี ๘ ดวง เห็นเป็นรูปธงสามเหลี่ยม มีหางเรียวยาว | |
![]() | ||
กัน-นา-พอน | เครื่องประดับหู | |
![]() | ||
เกด-กะ-วี-วัน | ศีรษะของกวี | |
![]() | ||
กาน-ดา | หญิงที่รัก | |
![]() | ||
กะ-มน-วัน | มีผิวพรรณดุจดอกบัว | |
![]() | ||
กิด-ติ-ไช | ผู้มีชัยชนะเป็นเกียรติยศ | |
![]() | ||
กัน-ยา-พัด | หญิงสาวผู้มีความเจริญ | |
![]() | ||
กริด-ติ-เดด | ผู้มีอำนาจและมีความสร้างสรรค์ | |
![]() | ||
กริด-สะ-นา-กอน | สร้างจากไม้กฤษณา | |
![]() | ||
กริด-สะ-นา-กอน | ผู้ปลูกต้นกฤษณา | |
![]() | ||
กริด-ชะ-พล | กำลังของมีดสองคม, มีพลังทะลุทะลวง | |
![]() | ||
กริด-ชะ-ยา | ผู้ชนะแล้ว | |
![]() | ||
กริด-ชะ-ยา | ผู้รู้ในสิ่งที่กระทำแล้ว | |
![]() | ||
กะ-หนก-แพรว | ทองคำอันแวววาว | |
![]() | ||
กด-ชะ-พอน | ผู้ประเสริฐดุจดอกบัว | |
![]() | ||
กด-ชะ-พอน | ||
![]() | ||
กุน-จิ-ระ | มีตระกูลอันมั่นคง ตระกูลที่ตั้งอยู่ตลอดกาลนาน | |
![]() | ||
กา-สา | แร่ชนิดหนึ่งมีสีเขียว, ผ้าชนิดหนึ่ง | |
![]() | ||
กิด-ติ-สัก | ผู้มีอำนาจและความสามารถ อำนาจที่น่าสรรเสริญ | |
![]() | ||
กิด-ติ-เดช | มีชื่อเสียงในด้านความสามารถ มีชื่อเสียงในด้านอำนาจ | |
![]() | ||
กริด-สะ-ดา | ที่ทําแล้ว | |
![]() | ||
กะ-หนก-พอน | ทองคำอันประเสริฐ, ประเสริฐเหมือนทองคำ | |
![]() | ||
กอ-ระ-พัด | ผู้ถือสายฟ้า หมายถึงพระอินทร์ | |
![]() | ||
กด-ชะ-กอน | กระพุ่มมือ | |
![]() | ||
กด-ชะ-นัน | ยินดีในดอกบัว ดอกบัวอันพึงใจ | |
![]() | ||
กด-ชะ-นุช | หญิงสาวที่บริสุทธิ์ดุจดอกบัว | |
![]() | ||
กด-ชะ-พัน | มีผิวพรรณเหมือนดอกบัว | |
![]() | ||
กด-ชะ-วัน | มีผิวพรรณเหมือนดอกบัว | |
![]() | ||
กะ-นิก-นัน | ละเอียดที่สุด เล็กหรือจิ๋ว | |
![]() | ||
กะ-นิ-กา | เล็ก ชื่อสมุนไพรชนิดหนึ่ง คนที่สอง | |
![]() | ||
กะ-นิด | รวงข้าว | |
![]() | ||
กะ-ตัน-ยู | ผู้รู้คุณคน | |
![]() | ||
กะ-หนก-นิ-พา | เหมือนทอง | |
![]() | ||
กะ-หนก-พน | มีพลังคือทอง | |
![]() | ||
กะ-หนก-พิด | ปราชญ์ผู้มีค่าประดุจทอง | |
![]() | ||
กะ-หนก-พัน | เผ่าพันธุ์คนร่ำรวย | |
![]() | ||
กะ-หนก-พัน | มีค่าดุจทอง | |
![]() | ||
กะ-หนก-ระ-ดา | ยินดีในทอง | |
![]() | ||
กะ-หนก-สิ-หริ | งดงามดุจทอง | |
![]() | ||
กน-ทอน | ผู้ทรงไว้ซึ่งสิ่งอันเป็นที่รัก | |
![]() | ||
กน-ระ-พี | พระอาทิตย์ที่น่ารัก พระอาทิตย์งาม | |
![]() | ||
กน-ทิ-ชา | เกิดใกล้ทะเล | |
![]() | ||
กน-ที | ทะเล มหาสมุทร | |
![]() | ||
เกด-สะ-นี | นางผู้มีผมงาม | |
![]() | ||
กะ-มะ-นี-ยา | งามเป็นที่พึงพอใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-ฉัด | ร่มใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-ละ-ฉัน | ความพอใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-นัด | เป็นที่พึงใจ เกลียวใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-ละ-ไน | งามดุจดอกบัว | |
![]() | ||
กะ-มน-นิด | คนที่มีความมั่นคงในใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-ปัด | กลีบบัว | |
![]() | ||
กะ-มน-ละ-พบ | เกิดจากดอกบัว พระพรหม | |
![]() | ||
กะ-มน-พู | เกิดจากดอกบัว | |
![]() | ||
กะ-มน-รด | น้ำใจ | |
![]() | ||
กะ-มน-โรด | ดวงใจที่รุ่งเรือง ความรุ่งเรืองของดวงใจ | |
![]() | ||
หลักการตั้งชื่อที่ดี | ||
1.ชื่อนั้นต้องมีความหมายที่ดี
2.ชื่อนั้นต้องไม่มีอักษรกาลกิณีในชื่อ และพยายามเลี่ยงตัวอักษรที่เป็นอุตสาหะนำหน้าชื่อเนื่องจากว่าผู้ใช้ชื่อนี้มักเหน็ดเหนื่อย อาจารย์บางท่านได้ห้ามการใช้อักษรวรรคศรีมากเกินไป ด้วยเหตุผลว่าคนที่มีอักษรวรรคศรีมากจะประสบโชคลาภในเรื่องทรัพย์สินเงินทองในใจคิดแต่เรื่องเงินทองทำให้การกระทำการใดๆคิดแต่เรืองเงินทองจนขาดสติยับยั้งชั่งใจทำผิดพลาดได้ง่าย ท่านให้ใช้วรรคอักษรมนตรีนำหน้าชื่อแทนอักษรวรรคศรี ด้วยเหตุผลอันน่าฟังว่า สตรีต้องมีคู่ครองที่ดีเป็นหัวหน้าครอบครัวสร้างความสุขให้แก่ครอบครัว และใช่อักษรวรรคบริวารผสมในชื่อเพื่อที่จะให้บุตรและบริวารเชื่อฟังและเป็นคนดี ซึ่งล้วนแล้วเป็นความคิดเห็นที่ดี 3. ชื่อนั้นต้องมีต้องมีอักษรอยู่ในตำแหน่งที่ดีในตุ๊กตาไขนาม เพราะตุ๊กตาไขนามนั้นจะพยากรณ์ชื่อนั้นๆว่าจะมีวิถีการดำเนินชีวิตไปตามช่วงอายุต่างๆว่าดำเนินไปเช่นใดหากใช้ชื่อนั้น เพราะชื่อเดียวกันอาจจะดีสำหรับบุคคลในปีจุลศักราชหนึ่งแต่ไม่ดีสำหรับปีจุลศักราชหนึ่ง เช่นชื่ออภิสิทธิ์ คนหนึ่งอาจจะเป็นนายกรัฐมนตรี แต่อีกคนอาจจะทำงานรับจ้างแบกหามก็เป็นได้ 4.เลขศาสตร์ เป็นวิชาว่าด้วยตัวเลขอักษรต่างๆโหราจารย์ได้ใช้ตัวเลขในการแทนค่าเพื่อที่จะหาผลรวมของเลขเหล่านั้น แล้วให้ความหมายของตัวเลขแต่ละค่า ชื่อที่ดีนั้นผลรวมของเลขศาสตร์ทั้งชื่อและนามสกุลต้องรวมแล้วต้องได้ค่าเลขศาสตร์ที่ดีที่สุดทั้งคู่ การที่ชื่อตัวได้เลขศาสตร์ที่ดีไม่เพียงพอต้องพิจารณาผลรวมของนามสกุลร่วมด้วย ส่วนเลขศาสตร์นามสกุลเราแก้ไขอะไรไม่ได้มากนักนอกจากเปลี่ยนนามสกุลซึ่งไม่ขอแนะนำ 5.อายตนะ ๖ เป็นวิชาการตั้งชื่อด้วยโหราศาสตร์มอญโบราณ และเอามาพิจารณาในการตั้งชื่อได้ควรเลือกเอาค่าตัวเลขอายตนะ ๖ ที่ดี ไม่ควรเอาค่าอายตนะ ๖ ที่ไม่ดีมาตั้งชื่อ หากเลี่ยงไม่ได้ก็ไม่พิจารณาได้ในส่วนนี้แต่ทางที่ดีควรหาค่าอายตนะ ๖ ที่ดี |